FileZilla Client: Difference between revisions

From P&T Knowledgebase
Jump to navigation Jump to search
No edit summary
No edit summary
 
(5 intermediate revisions by the same user not shown)
Line 1: Line 1:
[[FileZilla Client]] คือ ซอร์ฟแวร์สำหรับอัพโหลดไฟล์ ผ่าน [[FTP]] และยังเป็นฟรีแวร์ แถมยังใช้งานได้ดี สำหรับคนที่ยังไม่มีโปรแกรมที่ใช้อัพโหลดเว็บไซต์ ก็จะขอแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัวนี้
[[FileZilla Client]] คือ ซอร์ฟแวร์สำหรับอัพโหลดไฟล์ ผ่าน [[FTP]] และยังเป็นฟรีแวร์ แถมยังใช้งานได้ดี สำหรับคนที่ยังไม่มีโปรแกรมที่ใช้อัพโหลดเว็บไซต์ ก็จะขอแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัวนี้
 
__TOC__
== ดาวน์โหลดและติดตั้ง ==
== ดาวน์โหลดและติดตั้ง ==
สามารถเข้าไปโหลดตัวติดตั้งโปรแกรมได้ที่เว็บไซต์ [http://filezilla-project.org/ filezilla-project.org] โดยเข้าไปโหลดที่หน้านี้ [http://filezilla-project.org/download.php?type=client http://filezilla-project.org/download.php?type=client] ให้เลือกดาวน์โหลดไฟล์ตาม Platform ของเครื่องที่ใช้งาน. เมื่อดาวน์โหลดไฟล์ตัวติดตั้งมาได้แล้ว ก็ให้ดำเนินการติดตั้งไปตามขั้นตอนให้เรียบร้อย.
สามารถเข้าไปโหลดตัวติดตั้งโปรแกรมได้ที่เว็บไซต์ [http://filezilla-project.org/ filezilla-project.org] โดยเข้าไปโหลดที่หน้านี้ [http://filezilla-project.org/download.php?type=client http://filezilla-project.org/download.php?type=client] ให้เลือกดาวน์โหลดไฟล์ตาม Platform ของเครื่องที่ใช้งาน. เมื่อดาวน์โหลดไฟล์ตัวติดตั้งมาได้แล้ว ก็ให้ดำเนินการติดตั้งไปตามขั้นตอนให้เรียบร้อย.


== ข้อควรปฏิบัติ และสิ่งที่ควรทราบ ==
== ข้อควรปฏิบัติ และสิ่งที่ควรทราบ ==
* ชื่อไฟล์และโฟลเดอร์ ต้องเป็น '''ภาษาอังกฤษ''' เท่านั้น ถ้าชื่อไฟล์เป็นภาษาไทยจะไม่สามารถแสดงผลได้ (ถ้ามีไฟล์ชื่อภาษาไทยจะต้องเปลี่ยนชื่อเป็นภาษาอังกฤษให้หมดก่อน)
* หน้าแรกของเว็บไซต์ จะต้องตั้งชื่อเป็น '''index.html''', '''index.htm''' หรือ '''index.php''' โดยวางไว้ที่โฟลเดอร์ public_html ลักษณะนี้ '''/domains/ชื่อโดเมน/public_html/index.html'''
* ระบบชื่อไฟล์บนโฮสติ้ง เป็นแบบ Case-sensitive คือ ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ถือว่าแตกต่างกัน (ถ้าระบบชื่อไฟล์ของ Windows จะเป็น Case-insensitive)
* ระบบชื่อไฟล์บนโฮสติ้ง เป็นแบบ Case-sensitive คือ ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ถือว่าแตกต่างกัน (ถ้าระบบชื่อไฟล์ของ Windows จะเป็น Case-insensitive)
* ให้อัพโหลดไฟล์เว็บไซต์ไว้ในโฟลเดอร์ '''public_html'''
* ให้อัพโหลดไฟล์เว็บไซต์ไว้ในโฟลเดอร์ '''public_html'''
* <b style="color:red;">ห้ามลบ</b> ไฟล์และโฟลเดอร์บนโฮสติ้ง ที่อยู่นอกโฟลเดอร์ '''public_html'''
* <b style="color:red;">ห้ามลบ</b> ไฟล์และโฟลเดอร์บนโฮสติ้ง ที่อยู่นอกโฟลเดอร์ '''public_html''' (ถ้าลบจะทำให้การทำงานของโฮสติ้งมีปัญหา หรือไม่สามารถใช้งานได้)
 
* ในกรณีที่ต้องการให้ไฟล์หน้าแรกเป็นไฟล์ชื่ออื่นๆ แทน สามารถใช้คำสั่งของไฟล์ [[:Category:htaccess|.htaccess]] สำหรับตั้งได้ว่าจะใช้ไฟล์หน้าแรกเป็นชื่ออะไร โดยใช้คำสั่ง [[DirectoryIndex]].
* ถ้าโฮสติ้งไม่มีไฟล์หน้าแรก เวลาเปิดเว็บโดยไม่ระบุชื่อไฟล์ลงใน URL โฮสติ้งจะแสดงหน้า [[403 Forbidden|Forbidden]].


== วิธีการใช้งาน ==
== วิธีการใช้งาน ==
# เปิดโปรแกรม [[FileZilla Client]]<br/>[[File:FileZilla_Screen_1.png]]
# เปิดโปรแกรม [[FileZilla Client]] ขึ้นมา<br/>[[File:FileZilla_Screen_1.png]]
# กรอกข้อมูลสำหรับเชื่อมต่อกับโฮสติ้ง ใช้ข้อมูลที่ได้จากอีเมลแจ้งข้อมูลการใช้งานโฮสติ้ง
# เข้าที่เมนู File > '''Site Manager'''
#* '''Host:''' ให้ใส่เลข IP Address (สามารถใส่ชื่อโดเมนได้ ในกรณีที่มีโดเมนเนมที่ใช้กับโฮสติ้ง)
# คลิกปุ่ม '''New Site'''<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_1828.png}}<br/><br/>
#* '''Username:''' ให้ใส่ username ดูจากอีเมลแจ้งข้อมูลการใช้งานโฮสติ้ง
# ตั้งชื่อ Site (กำหนดเป็นอะไรก็ได้)<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_1839.png}}<br/><br/>
#* '''Password:''' ให้ใส่ password ดูจากอีเมลแจ้งข้อมูลการใช้งานโฮสติ้ง
# ช่อง '''Host:''' ให้ใส่ชื่อโดเมนของคุณ หรือในกรณีที่ยังไม่จดโดเมนให้ใส่เป็นเลขไอพีของโฮสติ้ง<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_1935.png}}<br/><br/>
#* '''Port:''' ให้ใส่ 21
# เลือก '''Logon Type''' เป็น '''Normal''' และกรอก Username และ Password ของโฮสติ้งที่ได้รับทางอีเมล<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_1937.png}}<br/><br/>
# คลิกปุ่ม '''Quickconnect''' [[File:Quick_Connect.gif]]
# เข้าแถบ '''Charset''' แล้วเลือก '''Force UTF-8'''<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2014.png}}<br/><br/>
# ถ้าทุกอย่างถูกต้อง โปรแกรมจะเชื่อมต่อกับโฮสติ้งได้สำเร็จ และจะแสดงไฟล์ที่อยู่บนโฮสติ้งขึ้นมาที่ช่องด้านขวา
# คลิกปุ่ม '''Connect'''<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2017.png}}<br/><br/>
# ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าที่โฟลเดอร์ '''domains'''<br/>[[File:FileZilla_Client_Screen_2.png]]
# double-click ที่ชื่อโฟลเดอร์ '''domains''' ด้านขวามือ<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2020.png}}<br/><br/>
# ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าที่โฟลเดอร์ที่เป็นชื่อ โดเมนเนม ของเว็บไซต์ที่ต้องการอัพโหลด<br/>[[File:FileZilla_Client_Screen_3.png]]
# double-click ที่โฟลเดอร์ที่เป็นชื่อโดเมนของคุณ<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2022.png}}<br/><br/>
# ดับเบิ้ลคลิกเพื่อเข้าที่โฟลเดอร์ '''public_html''' <br/>[[File:FileZilla_Client_Screen_4.png]]
# double-click ที่โฟลเดอร์ชื่อ '''public_html''' <br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2023.png}}<br/><br/>
# ลากไฟล์และโฟลเดอร์ที่ต้องการอัพโหลด จากบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ ไปวางที่โฮสติ้งทางฝั่งขวามือ<br/>[[File:FileZilla_Client_Screen_5.png]]
# ลากไฟล์และโฟลเดอร์ที่ต้องการอัพโหลด จากบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ ไปวางที่โฮสติ้งทางฝั่งขวามือ<br/>{{fullurl:Img/0003/2012-02-06_2025.png}}<br/><br/>
# แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้วครับ และครั้งถัดๆไป คุณไม่จำเป็นต้องกรอกค่าทั้งหมดใหม่ แต่สามารถเข้าที่ Site Manager แล้วเลือก Site ที่คุณบันทึกไว้ แล้วคลิกปุ่ม Connect เพื่อเริ่มใช้งานได้ทันที


  Tag: Upload Web, Upload Website, FileZilla
  Tag: Upload Web, Upload Website, FileZilla


[[Category:Upload_Web]]
[[Category:Upload_Web]]

Latest revision as of 20:34, 6 February 2012

FileZilla Client คือ ซอร์ฟแวร์สำหรับอัพโหลดไฟล์ ผ่าน FTP และยังเป็นฟรีแวร์ แถมยังใช้งานได้ดี สำหรับคนที่ยังไม่มีโปรแกรมที่ใช้อัพโหลดเว็บไซต์ ก็จะขอแนะนำให้ใช้โปรแกรมตัวนี้

ดาวน์โหลดและติดตั้ง

สามารถเข้าไปโหลดตัวติดตั้งโปรแกรมได้ที่เว็บไซต์ filezilla-project.org โดยเข้าไปโหลดที่หน้านี้ http://filezilla-project.org/download.php?type=client ให้เลือกดาวน์โหลดไฟล์ตาม Platform ของเครื่องที่ใช้งาน. เมื่อดาวน์โหลดไฟล์ตัวติดตั้งมาได้แล้ว ก็ให้ดำเนินการติดตั้งไปตามขั้นตอนให้เรียบร้อย.

ข้อควรปฏิบัติ และสิ่งที่ควรทราบ

  • หน้าแรกของเว็บไซต์ จะต้องตั้งชื่อเป็น index.html, index.htm หรือ index.php โดยวางไว้ที่โฟลเดอร์ public_html ลักษณะนี้ /domains/ชื่อโดเมน/public_html/index.html
  • ระบบชื่อไฟล์บนโฮสติ้ง เป็นแบบ Case-sensitive คือ ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก ถือว่าแตกต่างกัน (ถ้าระบบชื่อไฟล์ของ Windows จะเป็น Case-insensitive)
  • ให้อัพโหลดไฟล์เว็บไซต์ไว้ในโฟลเดอร์ public_html
  • ห้ามลบ ไฟล์และโฟลเดอร์บนโฮสติ้ง ที่อยู่นอกโฟลเดอร์ public_html (ถ้าลบจะทำให้การทำงานของโฮสติ้งมีปัญหา หรือไม่สามารถใช้งานได้)
  • ในกรณีที่ต้องการให้ไฟล์หน้าแรกเป็นไฟล์ชื่ออื่นๆ แทน สามารถใช้คำสั่งของไฟล์ .htaccess สำหรับตั้งได้ว่าจะใช้ไฟล์หน้าแรกเป็นชื่ออะไร โดยใช้คำสั่ง DirectoryIndex.
  • ถ้าโฮสติ้งไม่มีไฟล์หน้าแรก เวลาเปิดเว็บโดยไม่ระบุชื่อไฟล์ลงใน URL โฮสติ้งจะแสดงหน้า Forbidden.

วิธีการใช้งาน

  1. เปิดโปรแกรม FileZilla Client ขึ้นมา
    FileZilla Screen 1.png
  2. เข้าที่เมนู File > Site Manager
  3. คลิกปุ่ม New Site
    2012-02-06_1828.png

  4. ตั้งชื่อ Site (กำหนดเป็นอะไรก็ได้)
    2012-02-06_1839.png

  5. ช่อง Host: ให้ใส่ชื่อโดเมนของคุณ หรือในกรณีที่ยังไม่จดโดเมนให้ใส่เป็นเลขไอพีของโฮสติ้ง
    2012-02-06_1935.png

  6. เลือก Logon Type เป็น Normal และกรอก Username และ Password ของโฮสติ้งที่ได้รับทางอีเมล
    2012-02-06_1937.png

  7. เข้าแถบ Charset แล้วเลือก Force UTF-8
    2012-02-06_2014.png

  8. คลิกปุ่ม Connect
    2012-02-06_2017.png

  9. double-click ที่ชื่อโฟลเดอร์ domains ด้านขวามือ
    2012-02-06_2020.png

  10. double-click ที่โฟลเดอร์ที่เป็นชื่อโดเมนของคุณ
    2012-02-06_2022.png

  11. double-click ที่โฟลเดอร์ชื่อ public_html
    2012-02-06_2023.png

  12. ลากไฟล์และโฟลเดอร์ที่ต้องการอัพโหลด จากบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ ไปวางที่โฮสติ้งทางฝั่งขวามือ
    2012-02-06_2025.png

  13. แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้วครับ และครั้งถัดๆไป คุณไม่จำเป็นต้องกรอกค่าทั้งหมดใหม่ แต่สามารถเข้าที่ Site Manager แล้วเลือก Site ที่คุณบันทึกไว้ แล้วคลิกปุ่ม Connect เพื่อเริ่มใช้งานได้ทันที
Tag: Upload Web, Upload Website, FileZilla